การออกแบบแอปพลิเคชันให้ผู้ใช้งานประทับใจ
คุณณัชชา โกมลฐิติ
มุ่งเน้นความเข้าใขพื้นฐานของการออกแบบแอปพลิเคชัน โดยใช้หลักการออกแบบประสบการณ์ของผู้ใช้งานรวมถึงการสร้างต้นแบบอย่างง่าย เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาทางธุรกิจดิจิทัล
การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code
ศ. ดร.วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ
แนวคิดและความสำคัญของการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code ขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code การนิยามความต้องการทางธุรกิจและผลลัพธ์ที่ต้องการ กระแสงานทางธุรกิจ แบบจำลองข้อมูล ส่วนประสานต่อผู้ใช้งาน ความปลอดภัย การทดสอบและการติดตั้ง การสำรวจเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code การสาธิตการสร้างแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code
0295129 ศิลปะไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ( ART RATANAKOSIN )
ผศ.ชูพงศ์ ปัญจมะวัต
ความเชื่อพื้นฐานในวัฒนธรรมไทยเกี่ยวกับเรื่องไตรภูมิและศิลปะไทยในระบบภูมิจักรวาลสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3) อิทธิพลศิลปะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนและยุโรปในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง (รัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 5)
รู้ทันกลโกงหลอกลวงบนโลกออนไลน์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
การสร้างและบริหารเครือข่าย
ผศ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุล
บริหารเครือข่ายอย่างไรเพื่อความสัมพันธ์ของเครือข่าย และสร้างควาเป็นหุ่นส่วน สำคัญในเส้นทางการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะกลยุทธ์ที่เหมาะกับเพื่อนร่วมทาง กลุ่มต่าง ๆ ทั้ง Strategic Partner และ Boundary Partner
การบริหารพลังใจและพลังกายสไตล์ยุคดิจิทัล
ศ. ดร. นพ.นันทวัช สิทธิรักษ์
การดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อมโดยใช้โปรแกรม RDAD
รศ. ดร. พญ.ศิรินาถ ตงศิริ
ผู้ป่วยสมองเสื่อม ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษด้วยความเข้าใจที่ถูกต้อง หลักสูตร "การดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อมด้วยโปรแกรม Reducing Disability in Alzheimer's Disease (RDAD)" เพื่อความเข้าใจอาการของโรค ความก้าวหน้าของโรคและการรักษา ภาพรวมและรายละเอียดของโปรแกรม RDAD การออกแบบการใช้โปรแกรม RDAD ให้เหมาะสมกับผู้ป่วย
แนวคิดและการสร้างเสริมสุขภาพ
ผศ. ดร.ลักขณา เติมศิริกุลชัย ผศ. ดร.ศรัณญา เบญจกุล และผศ. ดร.ภรณี วัฒนสมบูรณ์
สุขภาพและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพปัจจัยกำหนดสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพตามกฏบัตรออตตาวา การสร้างเสริมสุขภาพแบบ สสส. บทบาทและวิธีการทำงานแบบ สสส. โมเดลการสร้างเสริมสุขภาพแบบ สสส. (Thai Health Model) กรณีศึกษาเรียนรู้เชื่อมโยงประสบการณ์การทำงานสร้างเสริมสุขภาพผ่านกรณีศึกษา
Tools & Tips for Fact-Checker
คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์
เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักและเข้าใจมากยิ่งขึ้นเกี่ยวกับลักษณะเนื้อหาและเนื้องานของ “นักตรวจสอบข้อเท็จจริง” หรือ FACT-CHECKER และ เข้าใจยิ่งขึ้นผ่านตัวอย่าง การตรวจสอบข้อเท็จจริง (FACT-CHECKING) และการผลิตสื่อ
Everyone can Become a Citizen Developer
คุณจักริน บูรณะนิตย์
มุ่งเน้นความเข้าใจที่มาและความสำคัญของการมี Citizen Developer รวมถึงสร้างแรงบันดาลใจผ่านตัวอย่างการแก้ปัญหาโดย Citizen Developer และเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนอื่นต่อไป