กินอย่างไรห่างไกลมะเร็ง (จุฬาฯ)
ศ. ดร. ภญ.จงจิตร อังคทะวานิช
หลักสูตร Chula MOOC
7 มีนาคม 2565 เป็นต้นไป
7 มีนาคม 2565 เป็นต้นไป
6 บทเรียน
6 VDO
ไม่กำหนด
ไม่มี
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
CHULA MOOC
นิสิตและบุคลากร จุฬาฯ
วิชา กินอย่างไรห่างไกลมะเร็ง จะมีเนื้อหาทั้งหมด 6 บทเรียน โดยจะนำเสนอเกี่ยวกับการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องของอาหารกับโรคมะเร็ง โดยการให้ข้อมูลสถานการณ์ความเจ็บป่วย ชี้แนะเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่นำไปสู่การก่อโรคมะเร็ง ให้ความกระจ่างในประเด็นปัญหาความสับสนเรื่องอาหารกับโรคมะเร็ง ทั้งยังสร้างความตระหนักในการตรวจสอบข้อมูลต่าง ๆ ก่อนส่งให้ผู้อื่น แนะนำและอธิบายวิธีการเข้าถึงข้อมูลที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับอาหารกับการเกิดโรคมะเร็ง และสรุปรวบยอด อาหารที่เสี่ยง และอาหารที่ช่วยปกป้องจากโรคมะเร็ง เป็นต้น เป็นการให้ความรู้แก่ผู้เรียนเพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจหลักการและองค์ประกอบของระบบประกันสุขภาพ ตลอดจนเหตุผลเบื้องหลังการจัดการภายใต้ระบบประกันสุขภาพ
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพแบบต่างๆ ในประเทศไทย
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพนำไปใช้งานได้จริงและมีประสิทธิภาพ
มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of completion ได้
1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป
2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น
เนื้อหาในรายวิชา กินอย่างไรห่างไกลมะเร็ง ประกอบด้วย
บทที่ 1 : สถานการณ์การป่วยเป็นโรคมะเร็ง
บทที่ 2 : ปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็ง
บทที่ 3 : ความเชื่อเรื่องอาหารกับโรคมะเร็ง
บทที่ 4 : ตะลุยเว็บไซต์ไขปริศนาอาหารกับมะเร็ง
บทที่ 5 : ชัวร์ก่อนแชร์เรื่องมะเร็ง
บทที่ 6 : อาหารใดเสี่ยงภัยมะเร็ง
คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั