ยาน่ารู้: การใช้ยาเทคนิคพิเศษ (จุฬาฯ)

ผศ. ภก. ดร.วันชัย ตรียะประเสริฐ, ผศ.ภญ.ดร.ณัฎฐดา อารีเปี่ยม, อ.ภญ.ดร.ทัดตา ศรีบุญเรือง และ อ.ภก.บวรภัทร สุริยะปกรณ์

หลักสูตร Chula MOOC

  • มีสุขภาวะที่ดี
  • Course Code: CHULAMOOC5011.CU01
    4.9
  • Credit :

FREE
Empty Space 1697/5000
  • Register

    2 พฤษภาคม 2565 เป็นต้นไป

  • Study Time

    2 พฤษภาคม 2565 เป็นต้นไป

  • Content

    12 บทเรียน

  • Video

    12 วีดีโอ

  • Timing

    ไม่กำหนด

  • Document

    ไม่มี

  • Graduation criteria

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป

  • Diploma

    Chula Mooc

  • Target Audience

    นิสิตและบุคลากร จุฬาฯ

Course Introduction
'
About the Course

รายวิชายาน่ารู้: การใช้ยาเทคนิคพิเศษ จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเผยแพร่าความรู้เรื่อง ยา มีความสำคัญต่อบุคคลทุกเพศทุกวัย และเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องรู้เพราะว่า การใช้ยา ผู้ที่จะใช้ต้องมีความรู้ และสามารถปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง สำหรับวิชานี้จะเป็นการนำเสนอเกี่ยวกับวิธีการใช้ยาและคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษอย่างถูกวิธี ยาที่จะกล่าวถึงได้แก่ ยาที่ใช้สำหรับปาก ตา หู จมูก และทางทวาร หรือไม่ว่าจะเป็นยาที่ใช้สำหรับกลุ่ม เช่น ยาสำหรับโรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนสามารถใช้ยาได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

Objectives and lessons learned

    1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจวิธีการใช้ยาเทคนิคพิเศษอย่างถูกต้อง

    2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

Measurement and Evaluation Criteria

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

Note

    1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

    2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น

Course Content

    บทที่ 1 : บทนำ

    บทที่ 2 : ยาที่ใช้สำหรับดวงตา

    บทที่ 3 : ยาที่ช้สำหรับจมูก

    บทที่ 4 : ยาที่ใช้สำหรับหู : ยาหยอดหู บ

    ทที่ 5 : ยาที่ใช้สำหรับพ่นสูดทางปาก

    บทที่ 6 : ยาอมใต้ลิ้นรักษาโรคหัวใจ

    บทที่ 7 : ยาผงที่ต้องละลายน้ำก่อนใช้

    บทที่ 8 : ยาฉีดอินซูลิน

    บทที่ 9 : ยาเหน็บช่องคลอด

    บทที่ 10 : ยาสำหรับทวารหนัก

    บทที่ 11 : ข้อควรระวัง

    บทที่ 12 : การจัดการขยะด้านยา

Instructor
    • ผศ.ภญ.ดร.ณัฎฐดา อารีเปี่ยม

    หัวหน้าภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ
    ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ
    คณะเภสัชศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ.ภก.ดร.วันชัย ตรียะประเสริฐ

    ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ
    คณะเภสัชศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • อ.ภญ.ดร.ทัดตา ศรีบุญเรือง

    ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ
    คณะเภสัชศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • อ.ภก.บวรภัทร สุริยะปกรณ์

    ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ
    คณะเภสัชศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย