Universal Design (UD): การออกแบบเพื่อทุกคน (จุฬาฯ)

รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ รศ.ภาวดี อังศุสิงห์ และผศ.กิตติอร ศิริสุข

หลักสูตร Chula MOOC

  • พลเมืองที่ดีของสังคมโลก
  • Course Code: CHULAMOOC5005.CU01
    4.9
  • Credit :

FREE
Empty Space 286/5000
  • Register

    วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป

  • Study Time

    วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป

  • Content

    6 บทเรียน

  • Video

    6 วีดีโอ

  • Timing

    ไม่กำหนด

  • Document

    ไม่มี

  • Graduation criteria

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป

  • Diploma

    CHULA MOOC

  • Target Audience

    นิสิต บุคลากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Course Introduction
'
About the Course

การออกแบบเพื่อทุกคนเป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือสภาพแวดล้อมที่ทุกคนสามารถใช้งานได้โดยไม่มีข้อจำกัดด้านร่างกายและอายุ สำหรับรายละเอียดเนื้อหาที่จะกล่าวถึงในรายวิชานี้จะบรรยายเกี่ยวกับความเป็นมา และความสำคัญของการออกแบบเพื่อทุกคน หลักของการออกแบบ เกณฑ์การออกแบบ การนำหลักการ UD ไปประยุกต์ใช้กับสถาปัตย์ การออกแบบ UD นี้ไม่ใช่เพื่อคนพิการ ผู้สูงอายุ เท่านั้น การออกแบบดังกล่าวยังเหมาะสมกับคนท้อง เด็ก คนป่วย ฯลฯ อีกด้วย

Objectives and lessons learned

    1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการออกแบบเพื่อทุกคน

    2. สามารถนำหลักการและกรณีศึกษาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน สภาพแวดล้อมได้

Measurement and Evaluation Criteria

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

Note

    1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

    2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น

Course Content

    บทที่ 1 - แนะนำบทเรียน

    บทที่ 2 - หลัก 7 ประการของการออกแบบเพื่อทุกคน

    บทที่ 3 - เกณฑ์การออกแบบเพื่อทุกคน

    บทที่ 4 - การนำหลักการ UD มาประยุกต์ใช้กับสถาปัตย์

    บทที่ 5 - กรณีศึกษาการปรับปรุงบ้านแต่ละภูมิภาค

    บทที่ 6 - บทสรุปและแนวโน้มในอนาคต

Instructor
    • รศ.ภาวดี อังศุสิงห์

    ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์

    ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ผศ.กิตติอร ศิริสุข

    ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย