พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต

ผศ. ดร.ฑิตยา หวานวารี

คลังสื่อการเรียนรู้ GenEd โดยเครือข่ายฯ ภาคกลางตอนบน

  • ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้
  • Course Code: NEURON0111
    5.0
  • Credit :

FREE
Empty Space 2614/10000
  • Register

    วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เป็นต้นไป

  • Study Time

    วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เป็นต้นไป

  • Content

    5 บทเรียน

  • Video

    5 วีดีโอ

  • Timing

    ไม่กำหนด

  • Document

    ไม่มี

  • Graduation criteria

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป

  • Diploma

    certificate of completion

  • Target Audience

    นิสิตจุฬา ฯ กลุ่มนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจเทคโนโลยีและดิจิทัล

Course Introduction
'
About the Course

       ประวัติความเป็นมาของระบบอินเทอร์เน็ต; อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย; โพรโทคอลในระบบเครือข่าย; ชุดโพรโทคอลอินเทอร์เน็ต; ฮาร์ดแวร์ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต; บริการในระบบอินเทอร์เน็ต 

Objectives and lessons learned

    1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจความเป็นมา ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และระบบอินเทอร์เน็ต  

    2. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการพื้นฐานในการส่งข้อมูลระหว่างกันของคอมพิวเตอร์  

    3. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายหลักการทำงานพื้นฐานของระบบอินเทอร์เน็ต  

    4. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักฮาร์ดแวร์พื้นฐาน และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบอินเทอร์เน็ต  

Measurement and Evaluation Criteria

            มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้ 

Note

    1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป 

    2. ผู้เรียนจะสามารถทำข้อสอบ Posttest ได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น 

    3. สื่อการสอนวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งในการเรียน วิชา 0299001 DIG DATA AI  การรู้เท่าทันดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ศูนย์การศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Course Content

    บทที่ 1 วิวัฒนาการและความเป็นมาของระบบอินเทอร์เน็ต

    บทที่ 2 การทำงานของอินเทอร์เน็ต

    บทที่ 3 ชุดโพรโทคอลอินเทอร์เน็ต

    บทที่ 4 การเชื่อมต่อกับข่ายงานอินเทอร์เน็ต และบริการบนอินเทอร์เน็ต

    บทที่ 5 สรุปการเรียนรู้ 

Instructor
    • ผศ.ดร.ฑิตยา หวานวารี

    ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย