พื้นฐานการพัฒนาเว็บ
อ.ดร.มัชฌิกา อ่องแตง
คลังสื่อการเรียนรู้ GenEd โดยเครือข่ายฯ ภาคกลางตอนบน
วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เป็นต้นไป
วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เป็นต้นไป
คอร์สเรียนออนไลน์จำนวน 10 คอร์ส และเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาจำนวน 1 ครั้ง
10 รายวิชา
ไม่กำหนด
ไม่มี
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ไม่น้อยกว่า 80 คะแนน
certificate of achievement
นิสิตจุฬา ฯ กลุ่มนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจเทคโนโลยีและดิจิทัล
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน การสร้างเว็บด้วย HTML และ CSS การเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript การจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว โครงงานการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน ความปลอดภัยของระบบและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ
1) อธิบายการทำงานของคอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล
2) อธิบายพื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
3) อธิบายความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน
4) สร้างเว็บด้วย HTML และ CSS
5) เขียนโปรแกรมภาษา JavaScript
6) อธิบายการจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL
7) สร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว
8) นำเสนอโครงงานการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน
9) อธิบายความปลอดภัยของระบบและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
10) อธิบายแนวคิดเชิงคำนวณ
1.ผู้เรียนต้องผ่านคอร์สออนไลน์และเก็บชั่วโมงครบ คิดเป็น 60 คะแนน สอบปลายภาค 40 คะแนน ผู้เรียนจะได้รับเกรด S ต้องได้คะแนนรวมไม่ต่ำกว่า 80 คะแนน
2.เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนา online และ/หรือ onsite ให้มีจำนวนชั่วโมงรวมกับเนื้อหาออนไลน์ในรายวิชานั้นไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมง
1. ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2. รายวิชานี้เป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มรายวิชา “Chula MOOC Flexi” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คอร์สเรียนออนไลน์จำนวน 10 คอร์ส และเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาจำนวน 1 ครั้ง
1. รู้จักคอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล
2. พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
3. การแก้ปัญหาในขีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ
4. การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันด้วย Google Slides
5. การสร้างเว็บด้วย HTML และ CSS
6. การเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript
7. การจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL
8. การพัฒนา Full-stack เว็บแอปพลิเคชัน
9. ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน
10. การสร้างพื้นฐานที่มั่นคงสำหรับต่อสู้ภัยคุกคามทางไซเบอร์
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย