ดนตรีคลาสสิกปริทรรศน์

คณาจารย์จากสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก ภาควิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลักสูตร Chula MOOC

  • ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้
  • ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้
  • Course Code: CHULAMOOC4003.CU01
    4.8
  • Credit :

ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้

FREE
Empty Space 291/5000
  • Register

    วันที่ 9 สิงหาคม 2564 เป็นต้นไป

  • Study Time

    วันที่ 9 สิงหาคม 2564 เป็นต้นไป

  • Content

    12 บทเรียน

  • Video

    12 วีดีโอ

  • Timing

    ไม่กำหนด

  • Document

    ไม่มี

  • Graduation criteria

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป

  • Diploma

    CHULA MOOC

  • Target Audience

    นิสิตและบุคลากรจุฬา

Course Introduction
'
About the Course

รายวิชา ดนตรีคลาสสิกปริทรรศน์ (Introduction to Classical Music) จะมีเนื้อหาที่ให้ความรู้เกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญ รวมไปถึง องค์ประกอบของดนตรีคลาสสิก อีกทั้งยังได้รับความรู้เกี่ยวกับ เครื่องดนตรีแต่ละประเภท การรวมวง ดนตรีคลาสสิกในแต่ละยุค รวมถึงเพลงคลาสสิกที่ได้รับความนิยม หรือแม้กระทั่งความสัมพันธ์ระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ ดนตรีคลาสสิก ว่าเป็นอย่างไรบ้าง และสุดท้ายการฟังดนตรีคลาสสิกจะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปถ้าเรารู้จักมารยาทในการฟังดนตรีคลาสสิก

Objectives and lessons learned

    1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับดนตรีคลาสสิก

    2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถฟังเพลงคลาสสิกได้ด้วยตนเอง

Measurement and Evaluation Criteria

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

Note

    1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

    2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น

Course Content

    บทที่ 1 : ความหมายและความสำคัญของดนตรีคลาสสิก

    บทที่ 2 : องค์ประกอบที่สำคัญของดนตรีคลาสสิก

    บทที่ 3 : ประเภทของเครื่องดนตรี

    บทที่ 4 : ประเภทของการรวมวงและผู้ควบคุมวง

    บทที่ 5 : เพลงคลาสสิกในยุคกลาง ยุคฟื้นฟูศิลปวิยทยาการ และยุคบาโรก

    บทที่ 6 : เพลงคลาสสิกในยุคคลาสสิก

    บทที่ 7 : เพลงคลาสสิกในยุคโรแมนติก

    บทที่ 8 : เพลงคลาสสิกตั้งแต่ยุคศตวรรษที่ยี่สิบเป็นต้นมา

    บทที่ 9 : จุฬาฯ กับเพลงคลาสสิก

    บทที่ 10 : จุฬาฯ กับรายการวิทยุเพลงคลาสสิก

    บทที่ 11 : จุฬาฯ กับการผสมผสานวัฒนธรรมไทย

    บทที่ 12 : การเริ่มต้นฟังเพลงคลาสสิก

Instructor