การเจรจาต่อรองในเชิงธุรกิจ (จุฬาฯ)

ผศ.ดร.สมิทธิ์ บุญชุติมา

หลักสูตร Chula MOOC

  • นวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการ
  • Course Code: CHULAMOOC3824.CU01
  • Credit :

FREE
Empty Space 751/5000
  • Register

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2565 เป็นต้นไป

  • Study Time

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2565 เป็นต้นไป

  • Content

    3 บทเรียน

  • Video

    13 วีดีโอ

  • Document

    ไม่มี

  • Graduation criteria

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป

  • Diploma

    Chula Mooc

  • Target Audience

    นิสิตและบุคลากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Course Introduction
About the Course

ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกลยุทธ์ที่ใช้ในการเจรจาต่อรอง ประเภทของการเจรจาต่อรอง หลักการจัดการความตึงเครียดระหว่างการเจรจาต่อรอง หลักการฟังเชิงรุก (Active listening) ข้อควรระวังในเจรจาต่อรอง กระบวนการเจรจาต่อรอง เช่น การจัดลำดับการเจรจาต่อรอง การเตรียมการเจรจาต่อรอง จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเจรจาต่อรอง การบรรลุเป้าหมายของการเจรจาต่อรอง การทำสัญญาและข้อตกลง เทคนิคการจัดการกับข้อเรียกร้องในระหว่างการเจราจาต่อรอง การสร้างเงื่อนไข: Anchoring, Overconfidence, Framing, Availability การสร้างเงื่อนไข: Escalation, Reciprocation, Contrast การจัดการความขัดแย้งในระหว่างการเจราจาต่อรอง

Objectives and lessons learned

    1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายกลยุทธ์ที่ใช้ในการเจรจาต่อรอง กระบวนการเจรจาต่อรองและเทคนิคการจัดการกับข้อเรียกร้องในระหว่างการเจรจาต่อรอง

    2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเจรจาต่อรองในเชิงธุรกิจ

Measurement and Evaluation Criteria

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

Note

    1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

    2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น

Course Content

    เนื้อหารายวิชา การเจรจาต่อรองในเชิงธุรกิจ ประกอบไปด้วย

    Part 1 กลยุทธ์ที่ใช้ในการเจรจาต่อรอง

    - ประเภทของการเจรจาต่อรอง

    - หลักการจัดการความตึงเครียดระหว่างการเจรจาต่อรอง

    - หลักการฟังเชิงรุก (ACTIVE LISTENING)

    - ข้อควรระวังในการเจรจาต่อรอง

    Part 2 กระบวนการเจรจาต่อรอง

    - การจัดลำดับการเจรจาต่อรอง

    - การเตรียมการเจรจาต่อรอง

    - จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเจรจาต่อรอง

    - การบรรลุเป้าหมายของการเจรจาต่อรอง

    - การทำสัญญา และข้อตกลง

    Part 3 เทคนิคการจัดการกับข้อเรียกร้องในระหว่างการเจรจาต่อรอง

    - การสร้างเงื่อนไข I ANCHORING

    - การสร้างเงื่อนไข II FRAMING, AVAILABILITY

    - การสร้างเงื่อนไข III ESCALATION, RECIPROCATION, CONTRAST

    - การสร้างเงื่อนไข IV

Instructor
    • รศ.ดร.สมิทธิ์ บุญชุติมา

    ภาควิชาการประชาสัมพันธ์
    คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย