วิทยาศาสตร์ฮาลาลเบื้องต้นสำหรับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล (จุฬาฯ)

รศ. ดร.วินัย ดะห์ลัน ดร.อัซอารีย์ สุขสุวรรณ ดร.พรพิมล มะหะหมัด คุณอาณัฐ เด่นยิ่งโยชน์ คุณซูไนนี มาหะมะ และ คุณอิรพัน แวหะมะ

หลักสูตร Chula MOOC

  • ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้
  • Course Code: CHULAMOOC2013.CU01
    4.8
  • Credit :

FREE
Empty Space 51/5000
  • Register

    2 พฤษภาคม 2565 เป็นต้นไป

  • Study Time

    2 พฤษภาคม 2565 เป็นต้นไป

  • Content

    5 บทเรียน

  • Video

    5 วีดีโอ

  • Timing

    ไม่กำหนด

  • Document

    ไม่มี

  • Graduation criteria

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป

  • Diploma

    Chula Mooc

  • Target Audience

    นิสิตและบุคลากร จุฬาฯ

Course Introduction
'
About the Course

วิชา วิทยาศาสตร์ฮาลาลเบื้องต้น สำหรับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จะนำเสนอเกี่ยวกับ ความสำคัญของผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาลการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ความเข้าใจฮาลาลและหะรอมในอิสลาม โครงสร้างพื้นฐานการรับรองฮาลาล วิทยาศาสตร์เพื่อการรับรองฮาลาล และมาตรฐานระบบบริหารเพื่อจัดเตรียมอาหารฮาลาล เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ชีวิตประจำวันต่อไป

Objectives and lessons learned

    เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

Measurement and Evaluation Criteria

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

Note

    ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป ผู้เรียนจะสามารถทำข้อสอบ Posttest ได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น

Course Content

    บทที่ 1 ความสำคัญของผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

    บทที่ 2 ความเข้าใจฮาลาลและหะรอมในอิสลาม

    2.1 ความเข้าใจว่าด้วยอาหารและเครื่องดื่ม

    2.2 ความเข้าใจเกี่ยวกับหะรอมและนญิส

    2.3 การชำระล้างนญิสเบื้องต้น

    บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานการรับรองฮาลาล

    3.1 โครงสร้างพื้นฐานการรับรองฮาลาล

    3.2 มาตรฐานฮาลาลกับความปลอดภัย

    3.3 กระบวนการขอรับรองฮาลาลในประเทศไทย

    บทที่ 4 วิทยาศาสตร์ฮาลาลเพื่อการรับรองฮาลาล

    4.1 วัตถุดิบและสารเคมีต้องสงสัยตามมาตรฐานฮาลาล

    4.2 การจัดทำฐานข้อมูลวัตถุดิบฮาลาล (H numbers)

    4.3 นิติวิทยาศาสตร์และการรับรองฮาลาล

    4.4 กระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์ฮาลาลเพื่อการตรวจสอบสิ่งต้องห้ามในอาหารฮาลาล การวิเคราะห์การปนเปื้อนเจลาติน

    4.5 กระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์ฮาลาลเพื่อการตรวจสอบสิ่งต้องห้ามในอาหารฮาลาล การวิเคราะห์สัดส่วนกรดไขมัน

    4.6 กระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์ฮาลาลเพื่อการตรวจสอบสิ่งต้องห้ามในอาหารฮาลาล การวิเคราะห์ปริมาณเอทิลแอลกอฮอล์

    4.7 กระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์ฮาลาลเพื่อการตรวจสอบสิ่งต้องห้ามในอาหารฮาลาล การวิเคราะห์การปนเปื้อน DNA สุกร

    บทที่ 5 การมาตรฐานระบบบริหารเพื่อจัดเตรียมอาหารฮาลาลปลอดภัย

    5.1 มาตรฐานความปลอดภัยในการผลิตอาหาร

    5.2 การมาตรฐานและระบบบริหารเพื่อจัดเตรียมอาหารฮาลาลปลอดภัย

    5.3 การวิเคราะห์อันตรายและมาตรการในการควบคุมจุดวิกฤตด้านหะรอม

    5.4 การจัดการห่วงโซ่อุปทานฮาลาล

Instructor
    • รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน

    ผู้อำนวยการ
    ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ดร.อัซอารีย์ สุขสุวรรณ

    นักวิจัย
    ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ดร.พรพิมล มะหะหมัด

    หัวหน้าฝ่ายบริการวิชาการและวิจัย
    ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • คุณอาณัฐ เด่นยิ่งโยชน์

    หัวหน้ากลุ่มภารกิจบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • คุณซูไนนี มาหะมะ

    หัวหน้างานวิจัยและนวัตกรรม
    ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • คุณอิรฟัน แวหะมะ

    หัวหน้างานบริการหน่วยงานภายนอก สำนักงานกรุงเทพฯ
    ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย