การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code
ศ. ดร.วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ
หลักสูตร General Digital Skills
แนวคิดและความสำคัญของการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code ขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code การนิยามความต้องการทางธุรกิจและผลลัพธ์ที่ต้องการ กระแสงานทางธุรกิจ แบบจำลองข้อมูล ส่วนประสานต่อผู้ใช้งาน ความปลอดภัย การทดสอบและการติดตั้ง การสำรวจเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code การสาธิตการสร้างแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code
1. อธิบายแนวคิดและความสำคัญของการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code
2. อธิบายและปฏิบัติตามขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code
3. สำรวจและประยุกต์เครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน (Pretest/Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้
รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งในเรียนการสอนแบบสะสมหน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไป วิชา 0295103 LRNG LIFE (การเรียนรู้เพื่อชีวิต) หมวดสหศาสตร์
Introduction
Part 1 แนวคิดความเป็นมาของการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code:
Part 2 แนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบมาตรฐาน แบบย่อ
Part 3 กรณีศึกษา แจกแจงความต้องการใช้งานและการรวบรวมข้อมูล
Part 4 ความปลอดภัยและการออกแบบหน้าจอในการใช้งานแอป
Part 5 แนะนำโปรแกรม Appsheet และการลงมือสร้างแอป
Part 6 การนำเข้าตารางจาก Google sheet เข้าสู่ Appsheet
-การนำเข้าตารางจาก Google sheet เข้าสู่ Appsheet_1
-การนำเข้าตารางจาก Google sheet เข้าสู่ Appsheet_2
-การนำเข้าตารางจาก Google sheet เข้าสู่ Appsheet_3
Part 7 การทดสอบการนำเข้าและสืบค้นข้อมูล
Part 8 การลงมือกำหนดความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้
-การลงมือกำหนดความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้ 1
-การลงมือกำหนดความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้ 2
-การลงมือกำหนดความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้ 3
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย