การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code

ศ. ดร.วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ

หลักสูตร General Digital Skills

  • ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้
  • รหัสวิชา: NEURON0108
    4.9
  • หน่วยกิต :

FREE
ที่ว่าง 1022/5000
  • ลงทะเบียน

    วันที่ 21 สิงหาคม 2566

  • เวลาเรียน

    วันที่ 21 สิงหาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2567

  • เนื้อหา

    8 บทเรียน

  • วิดีโอ

    9 วีดีโอ

  • ระยะเวลา

    110 นาที

  • เอกสาร

    ไม่มี

  • เกณฑ์เรียนจบ

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป

  • ประกาศนียบัตร

    Chula Neuron

  • กลุ่มเป้าหมาย

    บุคคลทั่วไป

แนะนำรายวิชา
'
เกี่ยวกับรายวิชา

แนวคิดและความสำคัญของการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code ขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code การนิยามความต้องการทางธุรกิจและผลลัพธ์ที่ต้องการ กระแสงานทางธุรกิจ แบบจำลองข้อมูล ส่วนประสานต่อผู้ใช้งาน ความปลอดภัย การทดสอบและการติดตั้ง การสำรวจเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code การสาธิตการสร้างแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code

วัตถุประสงค์และสิ่งที่ได้จากเรียน

    1. อธิบายแนวคิดและความสำคัญของการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code

    2. อธิบายและปฏิบัติตามขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code

    3. สำรวจและประยุกต์เครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

    แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน (Pretest/Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

หมายเหตุ

    รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งในเรียนการสอนแบบสะสมหน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไป วิชา 0295103 LRNG LIFE (การเรียนรู้เพื่อชีวิต) หมวดสหศาสตร์

เนื้อหาหลักสูตร

    Introduction 

    Part 1 แนวคิดความเป็นมาของการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยี Low-code และ No-code:

    Part 2 แนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบมาตรฐาน แบบย่อ

    Part 3 กรณีศึกษา แจกแจงความต้องการใช้งานและการรวบรวมข้อมูล

    Part 4 ความปลอดภัยและการออกแบบหน้าจอในการใช้งานแอป

    Part 5 แนะนำโปรแกรม Appsheet และการลงมือสร้างแอป

    Part 6 การนำเข้าตารางจาก Google sheet เข้าสู่ Appsheet

    -การนำเข้าตารางจาก Google sheet เข้าสู่ Appsheet_1

    -การนำเข้าตารางจาก Google sheet เข้าสู่ Appsheet_2

    -การนำเข้าตารางจาก Google sheet เข้าสู่ Appsheet_3

    Part 7 การทดสอบการนำเข้าและสืบค้นข้อมูล

    Part 8 การลงมือกำหนดความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้ 

    -การลงมือกำหนดความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้ 1

    -การลงมือกำหนดความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้ 2

    -การลงมือกำหนดความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้ 3

อาจารย์ผู้สอน
    • ศาสตราจารย์ ดร.วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ (Assoc. Prof. Wiwat Vatanawood, Ph.D.)

    ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สแนะนำ