วัฒนธรรมความเป็นไทย

ศิลปะไทยสมัยรัตนโกสินทร์

ผศ.ชูพงศ์ ปัญจมะวัต

  • วัฒนธรรมความเป็นไทย
  • 2 Credit
4.3
FREE
ลงทะเบียน :วันที่ 21 สิงหาคม 2566

ความเชื่อพื้นฐานในวัฒนธรรมไทยเกี่ยวกับเรื่องไตรภูมิและศิลปะไทยในระบบภูมิจักรวาลสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3) อิทธิพลศิลปะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนและยุโรปในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง (รัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 5)

ที่ว่าง 189/500

10 อันดับผ้าทอของไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เปรม สวนสมุทร

  • วัฒนธรรมความเป็นไทย
FREE
ลงทะเบียน :วันที่ 21 มีนาคม 2566

ประวัติความเป็นมาของผ้าไทยและวัฒนธรรมการใช้ผ้าไทยเท่าที่พอจะมีหลักฐานปรากฎ การแบ่งประเภทผ้าไทยตามรูปแบบและเทคนิคการทอผ้าไทย 10 อันดับผ้าทอของไทยในปัจจุบันที่ทรงคุณค่าในเชิงหัตถศิลป์ แนวคิดในการธำรงรักษามรดกภอูมิปัญญาผ้าไทยที่ทุกคนทำได้ และการเสริมสร้างบุคลิกภาพด้วยการใช้ผ้าไทย

ที่ว่าง 165/500

Communicative Thai for Foreigners (จุฬาฯ)

อ. ดร.เกียรติ เทพช่วยสุข

  • วัฒนธรรมความเป็นไทย
4.9
FREE
ลงทะเบียน :วันที่ 3 มีนาคม 2566 - จนกว่าที่นั่งเต็ม

This course will introduce Thai as a foreign language and demonstrate how to utilize it on a daily life for beginning foreign learners. Learners will gain the knowledge by studying examples of vocabulary, phrases, and fundamental Thai grammar that can be implemented and in daily interactions naturally .
After completing this course, learners will have gained knowledge and understanding of how to pronounce basic words and phrases used in informal conversations. Learners will able to use basic vocabulary and simple expressions that are commonly used in everyday communication and also be able to apply a knowledge and understanding of basic Thai grammar, as well as the ability to communicate effectively in everyday life by using Thai language

ที่ว่าง 264/5000

นาฏยกรรมสยาม ตอน “ลิเก มรดกไทยในยุคสังคมเมือง” (จุฬาฯ)

ผศ. ดร.อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์

  • วัฒนธรรมความเป็นไทย
4.8
FREE
ลงทะเบียน :2 พฤษภาคม 2565

วิชานาฏยกรรมสยาม ตอน “ลิเก มรดกไทยในยุคสังคมเมือง” เป็นวิชาที่ต้องการเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ประเภท การดำรงชีวิตของนักแสดง องค์ประกอบของการแสดง เครื่องแต่งกาย ท่าร่ายรำ รวมไปถึงขั้นตอนและกระบวนการจัดแสดงลิเก เพื่อให้แก่นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจ ได้ศึกษาเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของไทย และร่วมกันสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้ลูกหลานได้ศึกษา

ที่ว่าง 45/5000

นาฎยกรรมสยาม: โขน (จุฬาฯ)

รศ. ดร.อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์

  • วัฒนธรรมความเป็นไทย
4.9
FREE
ลงทะเบียน :7 มีนาคม 2565

รายวิชา นาฎยกรรมสยาม ตอน โขน จะเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ประเภทของโขน ตัวละคร องค์ประกอบ ประเภทหัวโขน ท่าทางในการแสดง และขั้นตอนกระบวนการจัดแสดงโขนในกลุ่มนิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจ ได้ศึกษาและเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของไทย

ที่ว่าง 43/5000

พระนครศึกษา (จุฬาฯ)

ศ. ดร.บัณฑิต จุลาสัย

  • วัฒนธรรมความเป็นไทย
4.8
FREE
ลงทะเบียน :10 มกราคม 2565

วิชาพระนครศึกษา จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับชื่อของเขตต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร โดยในเบื้องต้นจะนำเสนอทั้งหมด 6 เขต โดยจะกล่าวถึง ประวัติความเป็นมาของชื่อเขต ความสัมพันธ์ของชื่อเขตกับอาคารสถานที่ บุคคลสำคัญ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ พัฒนาการสถาปัตยกรรมและเมืองในกรุงเทพมหานคร

ที่ว่าง 148/5000

พระไตรปิฎกกับวิถีชีวิต

อาจารย์แม่ชีวิมุตติยา (รศ. ดร.สุภาพรรณ ณ บางช้าง)

  • วัฒนธรรมความเป็นไทย
  • ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้
FREE
ลงทะเบียน :นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนภาคต้น 2564

ความสำคัญของพระไตรปิฎกที่มีต่อชีวิตและสังคม โดยเฉพาะในฐานะที่เป็นมรดกธรรมอันเป็นรากฐานแห่งสันติสุขของชีวิตและสังคมทุกกาลสมัย วัฒนธรรมพระไตรปิฎกในสังคมไทย พระไตรปิฎกกับการปฏิบัติในชีวิตและสังคมปัจจุบัน

ที่ว่าง 1/300