Aging Society and The Oral Health Care (จุฬาฯ)

ผศ. ทพญ. ดร.อรพินท์ โคมิน รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ทพ.สหพรหม นามะโน และทพ.ชานน สุวรรณประพิศ

หลักสูตร Chula MOOC

  • มีสุขภาวะที่ดี
  • รหัสวิชา: CHULAMOOC5013.CU01
    4.9
  • หน่วยกิต :

FREE
ที่ว่าง 111/5000
  • ลงทะเบียน

    วันที่ 3 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป

  • เวลาเรียน

    วันที่ 3 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป

  • เนื้อหา

    10 บทเรียน

  • วิดีโอ

    28 วีดีโอ

  • เอกสาร

    ไม่มี

  • เกณฑ์เรียนจบ

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมด ให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป

  • ประกาศณียบัตร

    Chula Mooc

  • กลุ่มเป้าหมาย

    นิสิตและบุคลากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แนะนำรายวิชา
เกี่ยวกับรายวิชา

รายวิชา Aging Society and The Oral Health Care จะนำเสนอเกี่ยวกับสภาวะการเข้าสู่ของสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ความสำคัญของการเตรียมตัวรับมือของของการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในฐานะบุคคลากรที่ทำงานด้านสาธารณสุข การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสภาพจิตใจ ที่มีผลต่อการดูแลสุขภาพองค์รวม การเปลี่ยนแปลงของสุขสภาวะในช่องปาก การตรวจและการดูแลรักษา ในเรื่องของการให้การรักษาจะกล่าวถึงเนื้อหาทางทันตกรรมด้านต่าง ๆ ตลอดจนการออกแบบปรับปรุงสถานที่พักอาศัย การเปลี่ยนแปลงที่ให้บริการทางสาธารณสุข เพื่อให้ใช้งานได้ระยะยาว การอำนวยความสะดวกแก่สภาพร่างกายที่เปลี่ยนไป

วัตถุประสงค์และสิ่งที่ได้จากเรียน

    1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสุขภาวะในช่องปากที่เปลี่ยนไปเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ

    2. เพื่อให้ตระหนักถึงผลกระทบของการรักษาโรคทางระบบต่อสุขภาพองค์รวมและสุขภาพช่องปาก

    3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

หมายเหตุ

    1.ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

    2.แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น

เนื้อหาหลักสูตร

    บทที่ 1 บทนำเข้าสู่สังคมสูงอายุของประเทศไทย

    บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายในผู้สูงอายุ

    บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจที่มีผลต่อการดูแลตนเอง และสุขภาพช่องปาก

    บทที่ 4 โรคของกล้ามเนื้อและระบบประสาท

    บทที่ 5 การกลืนและภาวะโภชนาการ

    บทที่ 6 การประเมินฟันผุในผู้สูงอายุ

    บทที่ 7 การแปรงฟัน และวิธีการเลือกวัสดุอุปกรณ์

    บทที่ 8 มุมมองทางสถาปัตยกรรม ต่อการเอื้อต่อสังคมผู้สูงอายุ

    บทที่่ 9 การออกกำลังกล้ามเนื้อเพื่อพัฒนาการกลืนและการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อลิ้น

    บทที่ 10 บทสรุปงานทันตกรรมผู้สูงอายุ

อาจารย์ผู้สอน
    • รศ. ทพญ. ดร.อรพินท์ โคมิน

    ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์
    คณะทันตแพทยศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์

    ภาควิชาเคหกร
    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ผศ. นพ.สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย

    ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
    คณะแพทยศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ทพ.สหพรหม นามะโน

    • ทพ.ชานน สุวรรณประพิศ

    • ทพญ.ชรินญา กาญจนเสวี