ความผกผันทางประชากรกับธุรกิจ (จุฬาฯ)
ศาสตราจารย์ ดร.เกื้อ วงศ์บุญสิน
หลักสูตร Chula MOOC
2 พฤษภาคม 2565 เป็นต้นไป
2 พฤษภาคม 2565 เป็นต้นไป
5 บทเรียน
5 วีดีโอ
ไม่กำหนด
ไม่มี
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
Chula Mooc
นิสิตและบุคลากร จุฬาฯ
วิชาความผกผันทางประชากรกับธุรกิจ ต้องการนำเสนอความรู้ความเข้าใจในความผกผันทางประชากร (Demographic Disruption) ซึ่งเป็นสิ่งสะท้อนถึงความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับประชากร และเป็นส่ิงที่จำเป็นอย่างยิ่งในการขับเคลื่อนประเทศไทยให้เข้าสู่ยุค 4.0 ที่จะนำข้อมูลความผกผันของประชากรมาใช้วางแผนกลยุทธ์เพื่อรับมือผลกระทบต่าง ๆ ในอนาคต
1. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงความสำคัญของความผกผันทางประชากร
2. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงการเตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ
3. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงการผกผันทางประชากรส่งผลอย่างไรต่อธุรกิจ
มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้
1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป
2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น
บทที่ 1 ความสำคัญของความผกผันทางประชากร
บทที่ 2 การเตรียมความพร้อมต่อสังคมผู้สูงวัย
บทที่ 3 การตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับประชากร
บทที่ 4 การกำหนดกลยุทธและแผนปฏิบัติการทางธุรกิจให้สัมพันธ์กับความผกผันทางประชากร
บทที่ 5 สรุปความผกผันของประชากรและการกำหนดกลยุทธ์
สถานบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย