SDGs x CHULA : จุฬากับนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (จุฬาฯ)

ทีมคณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลักสูตร Chula MOOC

  • การพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • รหัสวิชา: CHULAMOOC3019.CU01
    4.8
  • หน่วยกิต :

FREE
ที่ว่าง 151/5000
  • ลงทะเบียน

    วันที่ 3 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป

  • เวลาเรียน

    วันที่ 3 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป

  • เนื้อหา

    17 บทเรียน

  • วิดีโอ

    35 วีดีโอ

  • ระยะเวลา

    ไม่กำหนด

  • เอกสาร

    ไม่มี

  • เกณฑ์เรียนจบ

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป

  • ประกาศนียบัตร

    Chula Mooc

  • กลุ่มเป้าหมาย

    นิสิตและบุคลากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แนะนำรายวิชา
'
เกี่ยวกับรายวิชา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมุ่งมั่นที่จะบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ประการ (SDGs) ของสหประชาชาติผ่านนโยบายและการดําเนินงานการวิจัยและนวัตกรรมการเรียนการสอนตลอดจนการเข้าถึงและการมีส่วนร่วม ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้จึงได้ดําเนินการจัดทําสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง SDGs x CHULA : จุฬากับนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยจะมีเนื้อหาที่นําเสนอเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ข้อ ซึ่งกําหนดโดยสมัชชาแห่งสหประชาชาติ และนําเสนอเกี่ยวกับนวัตกรรมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับการร่วมขับเคลื่อนความยั่งยืน

วัตถุประสงค์และสิ่งที่ได้จากเรียน

    1.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ข้อ

    2.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยต่อสังคม

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะเป็นคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 100 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

หมายเหตุ

    1.ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

    2.ผู้เรียนจะสามารถทำข้อสอบ Posttest ได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น

เนื้อหาหลักสูตร

    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ SDGs



    บทที่ 1 Goal 1 No Poverty ขจัดความยากจน

    - จุฬาฯ กับ การพัฒนานโยบายสวัสดิการสําหรับคนจนและคนด้อยโอกาส

    บทที่ 2 Goal 2 Zero Hunger ขจัดความหิวโหย

    - จุฬาฯ กับ การส่งเสริมความปลอดภัยและความมั่นคงทางอาหาร

    บทที่ 3 Goal 3 Good Health and Well Being สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

    - จุฬาฯ กับ ความหวังให้สังคมเข้าถึงยารักษาโรคและวัคซีนฝีมือคนไทย

    บทที่ 4 Goal 4 Quality Education การศึกษาที่มีคุณภาพ

    - จุฬาฯ กับ การขยายโอกาสทางการศึกษาและสร้างความเท่าเทียม “จุฬาฯ-ชนบท”

    บทที่ 5 Goal 5 Gender Equality ความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรีและเด็กหญิง

    - จุฬาฯ กับ การยุติความไม่เท่าเทียมทางเพศและส่งเสริมสถานภาพสตรี

    บทที่ 6 Goal 6: Clean Water and Sanitation ให้ทุกคนเข้าถึงพลังงานที่ยั่งยืนได้ตามกําลังของตน

    - จุฬาฯ กับ การแก้ไขปัญหาแหล่งน้ําอย่างยั่งยืนด้วยองค์ความรู้วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

    บทที่ 7 Goal 7 Affordable and Clean Energy ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

    - จุฬาฯ กับ การบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าสู่เป้าหมายเมืองอัจฉริยะต้นแบบ

    บทที่ 8 Goal 8 Decent Work and Economic Growth ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

    - จุฬาฯ กับ การบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนนโยบายแรงงานของประเทศ

    บทที่ 9 Goal 9 Industry, Innovation and Infrastructure ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและนวัตกรรม

    - จุฬาฯ กับ การจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงอุตสาหกรรมเพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน

    บทที่ 10 Goal 10 Reduced Inequality ลดความเหลื่อมล้ําทั้งในภายในและระหว่างประเทศ

    - จุฬาฯ กับ การลดความเหลื่อมล้ําด้านสังคมเศรษฐกิจและการเมืองสําหรับคนทุกกลุ่ม

    บทที่ 11 Goal 11 สร้างเมืองและการตั้งถิ่นฐานที่ปลอดภัย Sustainable Cities and Communities

    - จุฬาฯ กับ การผลักดันนวัตกรรมเพื่อรักษาสิทธิในอากาศบริสุทธิ์ของชุมชนเมือง

    บทที่ 12 Goal 12 Responsible Consumption and Production สร้างรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน

    - จุฬา กับ การมุ่งเป็นต้นแบบนโยบายลดขยะเป็นศูนย์“CHULA ZERO WASTE”

    บทที่ 13 Goal 13 Climate Action ดําเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน

    - จุฬาฯ กับ การเสริมภูมิต้านทานและขีดความสามารถในการปรับตัวต่อวิกฤตโลกร้อน

    บทที่ 14 Goal 14 Life Below Water อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน

    - จุฬาฯ กับ การอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืนของภูมิภาค

    บทที่ 15 Goal 15 Life on Land ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืนของระบบนิเวศบนบก

    - จุฬาฯ กับ การบริหารจัดการทรัพยากรแห่งแผ่นดินผ่านโครงการ “รักษ์ป่าน่าน”

    บทที่ 16 Goal 16 Peace Justice and Strong Institution ส่งเสริมสันติภาพและการเข้าถึงระบบยุติธรรมอย่างเท่าเทียมกัน

    - จุฬาฯ กับ การสร้างสันติภาพและลดความขัดแย้งของประเทศอย่างยั่งยืน

    บทที่ 17 Goal 17 Partnerships for the Goals สร้างความร่วมมือระดับสากลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

    - จุฬาฯ กับ การสร้างเครือข่ายนวัตกรรมนานาชาติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

อาจารย์ผู้สอน
    • ทีมคณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สแนะนำ