การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง

ผศ.ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์

คลังสื่อการเรียนรู้ GenEd โดยเครือข่ายฯ ภาคกลางตอนบน

  • ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้
  • รหัสวิชา: 0299003
    5.0
  • หน่วยกิต :

FREE
ที่ว่าง
  • ลงทะเบียน

    วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เป็นต้นไป

  • เวลาเรียน

    วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เป็นต้นไป

  • เนื้อหา

    คอร์สเรียนออนไลน์จำนวน 8 คอร์ส และเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาจำนวน 1 ครั้ง

  • วิดีโอ

  • ระยะเวลา

    ไม่กำหนด

  • เอกสาร

    ไม่มี

  • เกณฑ์เรียนจบ

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ไม่น้อยกว่า 80 คะแนน

  • ประกาศนียบัตร

    Certificate of Achievement

  • กลุ่มเป้าหมาย

    นิสิตจุฬา ฯ กลุ่มนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจเทคโนโลยีและดิจิทัล

แนะนำรายวิชา
'
เกี่ยวกับรายวิชา

คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ การเขียนโปรแกรมภาษา Python โครงงานพัฒนาต้นแบบอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง

วัตถุประสงค์และสิ่งที่ได้จากเรียน

    1) อธิบายการทำงานของคอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล

    2) อธิบายพื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต

    3) อธิบายหลักการของอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง (IoT)

    4) สร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว

    5) อธิบายแนวคิดเชิงคำนวณ

    6) เขียนโปรแกรมภาษา Python

    7) นำเสนอโครงงานพัฒนาต้นแบบอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

    1.ผู้เรียนต้องผ่านคอร์สออนไลน์และเก็บชั่วโมงครบ คิดเป็น 60 คะแนน สอบปลายภาค 40 คะแนน ผู้เรียนจะได้รับเกรด S ต้องได้คะแนนรวมไม่ต่ำกว่า 80 คะแนน

    2.เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนา online และ/หรือ onsite ให้มีจำนวนชั่วโมงรวมกับเนื้อหาออนไลน์ในรายวิชานั้นไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมง

หมายเหตุ

    1. ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป

    2. รายวิชานี้เป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มรายวิชา “Chula MOOC Flexi” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เนื้อหาหลักสูตร

     



    คอร์สเรียนออนไลน์จำนวน 8 คอร์ส และเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาจำนวน 1 ครั้ง

    1. รู้จักคอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล

    2.พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต

    3. รู้จักอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง (IoT)

    4. การแก้ปัญหาในขีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ

    5. การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันด้วย Google Slides

    6. เรียนไพธอน: พื้นฐานภาษาและการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น

    7. การทำโครงงานไอโอทีด้วย Raspberry Pi: ภาคโปรแกรม

    8. การทำโครงงานไอโอทีด้วย Raspberry Pi: ภาคบูรณาการ

อาจารย์ผู้สอน
    • ผศ.ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์

    ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สแนะนำ