0201285 สังคมเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรชีวภาพของพืช

ศ. ดร.วนิดา จีนศาสตร์, ผศ.เตือนใจ โก้สกุล, ผศ. ดร.ปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์

สื่อการเรียนวิชา GenEd Chula

  • การพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • การพัฒนาอย่างยังยืน
  • รหัสวิชา: CUGE0201285
  • หน่วยกิต :

การพัฒนาอย่างยังยืน

FREE
ที่ว่าง 1/300
  • ลงทะเบียน

    นิสิตจุฬาฯ ลงทะเบียนตามภาคการศึกษาที่จุฬาฯ กำหนด

  • เวลาเรียน

    ภาคการศึกษาต้น / ภาคการศึกษาปลาย

  • เนื้อหา

    17 บทเรียน

  • วิดีโอ

    17 วีดีโอ

  • ระยะเวลา

    ไม่กำหนด

  • เอกสาร

    ไม่มี

  • เกณฑ์เรียนจบ

    เข้าเรียน ไม่น้อยกว่า 90 %

  • ประกาศนียบัตร

    จากรายวิชา

  • กลุ่มเป้าหมาย

    นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนจาก Reg Chula

แนะนำรายวิชา
'
เกี่ยวกับรายวิชา

รายวิชาสังคมเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรชีวภาพของพืช  เรียนรู้เกี่ยวกับ ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชกับการใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร อาหาร พืชสมุนไพรไทย ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว พลังงาน และสิ่งแวดล้อม สังคมเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรชีวภาพของพืช สังคมเศรษฐกิจสีเขียว การอนุรักษ์ความหลากหลายด้านพันธุกรรมของพืช ภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ

วัตถุประสงค์และสิ่งที่ได้จากเรียน

    1.ระบุความหลากหลายความหลากหลายทางชีวภาพของพืชเศรษฐกิจ บนฐานทรัพยากรชีวภาพของพืชและการอนุรักษ์ความหลากหลายความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและภูมิปัญญาท้องถิ่น

    2.วิเคราะห์ปัญหาและมูลเหตุปัจจัยต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อสังคมเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรชีวภาพของพืช

    3.สามารถเชื่อมโยงเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรชีวิภาพของพืช เพื่อมุ่งสู่การสร้างผลผลิตที่เป็นนวัตกรรม

    4.นำความรู้เรื่องเศรษฐกิจฐานทรัพยากรชีวภาพของพืชไปใช้ประโยชน์ได้

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

    เข้าเรียน ไม่น้อยกว่า 90 %

หมายเหตุ

    คอร์สเรียนนี้เป็นส่วนหนี่งของการ เรียนรายวิชาศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เนื้อหาหลักสูตร

    บทที่ 1 Orientation

    บทที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น

    บทที่ 3 ผลผลิตทางการเกษตร

    บทที่ 4 โครงสร้างต่างๆ ของเมล็ดข้าว

    บทที่ 5 ไอศกรีมนมข้าว

    บทที่ 6 แป้งข้าว

    บทที่ 7 มักกะโรนี

    บทที่ 8 สมุนไพร

    บทที่ 9 Economical Plant (Cactus Garden)

    บทที่ 10 JJ. Plant Market & Grafting

    บทที่ 11 อาหารสุขภาพ (ข้าวเหนียวเปียกลำไย)

    บทที่ 12 เศรษฐกิจสีเขียว20:04

    บทที่ 13 เศรษฐกิจสีเขียว (Bioeconomy/Green Economy)

    บทที่ 14 Carbon footprint /Climate Change

    บทที่ 15 อาหารฮาลาล

    บทที่ 16 สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ในประเทศไทย

    บทที่ 17 นวัตกรรมผักพื้นบ้าน ไม้ผลเมืองร้อน และความมั่นคงทางอาหาร

อาจารย์ผู้สอน
    • ผศ.เตือนใจ โก้สกุล

    • ศ.ดร.วนิดา จีนศาสตร์

    • ผศ.ดร.ปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์

คอร์สแนะนำ