สร้างสรรค์โลกใหม่ด้วยวิศวกรรม (Engineering My World)

รศ. ดร.อติวงศ์ สุชาโต ผศ. ดร.เชษฐา พันธ์เครือบุตร ผศ. ดร.ดาว สุวรรณแสง จั่นเจริญ รศ. ดร.ณัฏฐ์ ลีละวัฒน์ และ รศ. ดร.เสวกชัย อร่ามวงศ์

หลักสูตร CU ENGINEERING

  • พลเมืองที่ดีของสังคมโลก
  • สำหรับ นักเรียน นิสิต นักศึกษา บุคคลทั่วไป
  • รหัสวิชา: CU.ENG.003
    4.9
  • หน่วยกิต :

สำหรับ นักเรียน นิสิต นักศึกษา บุคคลทั่วไป

FREE
ที่ว่าง 1932/5000
  • ลงทะเบียน

    วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป

  • เวลาเรียน

    วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป

  • เนื้อหา

    5 บทเรียน

  • วิดีโอ

    22 วีดีโอ

  • เอกสาร

    ไม่มี

  • เกณฑ์เรียนจบ

    ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป

  • ประกาศณียบัตร

    Chula Neuron & CU Engineering

  • กลุ่มเป้าหมาย

    บุคคลทั่วไป

แนะนำรายวิชา
เกี่ยวกับรายวิชา

ความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานการทำงาน และประสบการณ์การทำงานเพื่อแก้ปัญหาในสังคมแบบวิศวกรผ่านขั้นตอน Conceive – Design – Implement – Operate, ความรู้เกี่ยวกับสาขาต่าง ๆ ของศาสตร์ทางวิศวกรรมและประเภทปัญหาในสังคมที่เกี่ยวข้อกับศาสตร์นั้น ๆ, การประยุกต์ใช้กระบวนการแก้ปัญหาและแนวคิดทางวิศวกรรม

วัตถุประสงค์และสิ่งที่ได้จากเรียน

    1, ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงกระบวนการปฏิบัติงานแบบวิศวกรรม

    2. ผู้เรียนเห็นภาพการปฏิบัติงานทางวิศวกรรมที่หลากหลายไม่เฉพาะวิชาชีพวิศวกรเท่านั้น

    3.นำกระบวนการปฏิบัติงานแบบวิศวกรรมไปประยุกต์ใช้กับการทำงานในวิชาชีพอื่นและการทำงานในชีวิตประจำวันได้

    4.วิชานี้เป็นพืื้นฐานสำหรับนักเรียน นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจ เรียนรู้ด้านวิศวกรรม

     

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz)แต่ละบทเรียน แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน (Pretest/Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

หมายเหตุ

    1.ผู้ที่ผ่านการเรียนตามข้อกำหนดจะมีสิทธิสมัครเพื่อเข้ารับการคัดเลือกร่วมกิจกรรม Design Thinking Camp ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ (รายละเอียดเงื่อนไขผู้มีสิทธิ์สมัครเข้าร่วมกิจกรรมจะประกาศให้ทราบทาง www.eng.chula.ac.th)

    2.วิชานี้เป็นส่วนหนี่งในการเรียนวิชา 0295103  Learning For Life (การเรียนรู้เพื่อชีวิต) ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เนื้อหาหลักสูตร

    บทที่ 1 : มองนวัตกรรมผ่านแว่นวิศวกร

    1.1 ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับชีวิตของเรา

    1.2 วิศวกรคือใคร ทำอะไร

    1.3 นวัตกรรมในฐานะเครื่องมือในการแก้ปัญหา

    1.4 CDIO เคล็ดลับ 4 ขั้นตอนในการสร้างนวัตกรรม

    1.5 วิศวกรเล่าให้ฟัง – Garena Free Fire

    บทที่ 2 : Conceive

    2.1 การ Conceive เพื่อค้นหา “โจทย์ที่ใช่”: กรณีศึกษา – Make by Kbank

    2.2 หา Insite ด้วย Design Thinking

    2.3 คุณลักษณะของวิศวกร

    2.4 กรณีศึกษารถยนต์ไฟฟ้า ตอนที่ 1

    บทที่ 3 : Design

    3.1 บทนำเกี่ยวกับการ Design

    3.2 ประยุกต์ใช้ความรู้คู่ Design

    3.3 แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบเชิงวิศวกรรม

    3.4 กรณีศึกษารถยนต์ไฟฟ้า ตอนที่ 2

    บทที่ 4 : Implement

    4.1 บทนำเกี่ยวกับการ Implement

    4.2 การพัฒนาซอฟต์แวร์

    4.3 การตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัย

    4.4 การบริหารจัดการ มุมมองเชิงธุรกิจ และกฎเกณฑ์: มาตรฐาน

    4.5 กรณีศึกษารถยนต์ไฟฟ้า ตอนที่ 3

    บทที่ 5 : Operate

    5.1 บทนำเกี่ยวกับ Operate

    5.2 ส่วนสำคัญทั้ง 3 ของการ Operate

    5.3 Data Analytics เพื่อปรับปรุง Ookbee แอปพลิเคชันร้านหนังสือออนไลน์

    5.4 กรณีศึกษารถยนต์ไฟฟ้า ตอนที่ 4

อาจารย์ผู้สอน
    • รศ.ดร.อติวงศ์ สุชาโต

    ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
    คณะวิศวกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ผศ.ดร.เชษฐา พันธ์เครือบุตร

    ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ
    คณะวิศวกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ผศ.ดร.ดาว สุวรรณแสง จั่นเจริญ

    ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
    คณะวิศวกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ.ดร.ณัฏฐ์ ลีละวัฒน์

    ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
    คณะวิศวกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ.ดร. เสวกชัย ตั้งอร่ามวงศ์

    ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
    คณะวิศวกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย