สื่อการเรียนวิชา GenEd Chula

(สำหรับนิสิตจุฬาฯที่ลงทะเบียนผ่าน Reg Chula) รายวิชาในหลักสูตรนี้ เป็นสื่อใช้ประกอบในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป หลักสูตรปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในรูปแบบ Blended Learning เรียนผสมผสานทั้งในห้องเรียนและเรียนออนไลน์เรียนรู้ด้วยตนเองวยตนเองใน CUNeuron ตามที่หลักสูตรและรายวิชากำหนด

การสร้างและบริหารเครือข่าย

ผศ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุล

ความเป็นผู้นำ

บริหารเครือข่ายอย่างไรเพื่อความสัมพันธ์ของเครือข่าย และสร้างควาเป็นหุ่นส่วน สำคัญในเส้นทางการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะกลยุทธ์ที่เหมาะกับเพื่อนร่วมทาง กลุ่มต่าง ๆ ทั้ง Strategic Partner และ Boundary Partner

การบริหารพลังใจและพลังกายสไตล์ยุคดิจิทัล

ศ. ดร. นพ.นันทวัช สิทธิรักษ์

มีสุขภาวะที่ดี

การดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อมโดยใช้โปรแกรม RDAD

รศ. ดร. พญ.ศิรินาถ ตงศิริ

มีสุขภาวะที่ดี

ผู้ป่วยสมองเสื่อม ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษด้วยความเข้าใจที่ถูกต้อง หลักสูตร "การดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อมด้วยโปรแกรม Reducing Disability in Alzheimer's Disease (RDAD)" เพื่อความเข้าใจอาการของโรค ความก้าวหน้าของโรคและการรักษา ภาพรวมและรายละเอียดของโปรแกรม RDAD การออกแบบการใช้โปรแกรม RDAD ให้เหมาะสมกับผู้ป่วย

แนวคิดและการสร้างเสริมสุขภาพ

ผศ. ดร.ลักขณา เติมศิริกุลชัย ผศ. ดร.ศรัณญา เบญจกุล และผศ. ดร.ภรณี วัฒนสมบูรณ์

มีสุขภาวะที่ดี

สุขภาพและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพปัจจัยกำหนดสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพตามกฏบัตรออตตาวา การสร้างเสริมสุขภาพแบบ สสส. บทบาทและวิธีการทำงานแบบ สสส. โมเดลการสร้างเสริมสุขภาพแบบ สสส. (Thai Health Model) กรณีศึกษาเรียนรู้เชื่อมโยงประสบการณ์การทำงานสร้างเสริมสุขภาพผ่านกรณีศึกษา

Tools & Tips for Fact-Checker

คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์

ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้

เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักและเข้าใจมากยิ่งขึ้นเกี่ยวกับลักษณะเนื้อหาและเนื้องานของ “นักตรวจสอบข้อเท็จจริง” หรือ FACT-CHECKER และ เข้าใจยิ่งขึ้นผ่านตัวอย่าง การตรวจสอบข้อเท็จจริง (FACT-CHECKING) และการผลิตสื่อ

Everyone can Become a Citizen Developer

คุณจักริน บูรณะนิตย์

ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้

มุ่งเน้นความเข้าใจที่มาและความสำคัญของการมี Citizen Developer รวมถึงสร้างแรงบันดาลใจผ่านตัวอย่างการแก้ปัญหาโดย Citizen Developer และเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนอื่นต่อไป

PROMOTION

Design Thinking for Digital Solutions

คุณกุลนันท์ พันธุ์อนุกูล

ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้

มุ่งเน้นความเข้าใจพื้นฐานของการสร้างสรรค์ Solution โดยใช้หลักการคิดเชิงออกแบบ และเข้าใจจุดเริ่มต้นการตั้งสมมติฐาน เข้าใจผู้ใช้งาน รวมถึงการสร้างแนวคิดเพื่อสร้างสรรค์การแก้ปัญหาด้วยดิจิทัล

พื้นฐานการตรวจสอบข้อเท็จจริง (Fact-Checking 101)

นายพีรพล อนุตรโสตถิ์

ร่วมสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้

ท่องโลกวัฒนธรรมป๊อป : จากคุณค่าเชิงสุนทรียะสู่มูลค่าทางเศรษฐกิจ

ผศ.เกตุชพรรณ์ คำพุฒ

พลเมืองที่ดีของสังคมโลก

Risk is All Around: บริหารจัดการชีวิตและองค์กรในยุคที่ความเสี่ยงอยู่รายล้อม

ดร.อวิรุทธ์ ฉัตรมาลาทอง

นวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการ

การดูแลสุขภาพเฉพาะบุคคลในยุค New Normal

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เติมเพชร สุขคณาภิบาล

มีสุขภาวะที่ดี

ขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงที่เป็นพึงปรารถนาของทุกคน ในสถาการณ์ปัจจุบันที่การดูแลสุขภาพเป็นสิ่งที่จำเป็น ข้อมูลหรือความรู้ด้านสุขภาพจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ ข้อมูลที่ได้รับมานั้นมีความหลากหลายและแตกต่างแหล่งที่มี ทั้งจากงานวิจัยและความเชื่อ ผู้รับข้อมูลข่าวสารมีวิธีการจัดการข้อมูลอย่างไร และเลือกที่จะนำไปปฏิบัติอย่างไร วิธีการดูแลสุขภาพของเราวิธีใดเหมาะสมกับตัวเรามากที่สุด
กิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย ผลต่อร่างกายและจิตใจ รูปแบบ, วิธีการเสริมสร้างสมรรถนะของร่างกายด้วยประเภทการฝึกที่เหมาะสม การประเมินและออกแบบโปรแกรม รวมถึงติดตามความก้าวหน้าในการออกกำลังกาย และการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องตามความต้องการ และข้อจำกัดต่างๆ ตามขั้นตอนที่ถูกต้องและปลอดภัย
พฤติกรรมการกินอาหาร และผลต่อสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ตลอดจนการเลือกสั่ง เลือกกินอาหารให้ดีต่อสุขภาพ สามารถวิเคราะห์และหาข้อมูลเกี่ยวโภชนาการจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

วิจัยไทบ้าน: นิเวศวิทยาพื้นบ้านในการจัดการทรัพยากร

ผศ. ดร.ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ

การพัฒนาอย่างยั่งยืน

การเมืองเรื่องความรู้ในการจัดการทรัพยากรและการพัฒนา ความสำคัญของนิเวศวิทยาพื้นบ้านในการจัดการทรัพยากรโดยชุมชน แนวคิดและวิธีการในการทำวิจัยไทบ้านเพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับนิเวศวิทยาพื้นบ้าน การนำความรู้ด้านนิเวศวิทยาพื้นบ้านไปใช้ในการจัดการทรัพยากรและการพัฒนา