(สำหรับนิสิตจุฬาฯที่ลงทะเบียนผ่าน Reg Chula) รายวิชาในหลักสูตรนี้ เป็นสื่อใช้ประกอบในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป หลักสูตรปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในรูปแบบ Blended Learning เรียนผสมผสานทั้งในห้องเรียนและเรียนออนไลน์เรียนรู้ด้วยตนเองวยตนเองใน CUNeuron ตามที่หลักสูตรและรายวิชากำหนด
Introduction to Coding with Python
ผศ. ดร.วราภรณ์ วิยานนท์
หลักสูตรที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมด้วยPython คุณจะได้เรียนรู้ถึงวิธีการเขียนโปรแกรม หรือการ Coding โดยใช้ภาษา Python และเรียนรู้ผ่านการทดลองทำ Coding เพื่อทำให้คุณมีความเข้าใจในอาชีพที่ต้องใช้ทักษะการเขียนโปรแกรม การจัดการข้อมูลมากขึ้น
Introduction to Customer Experience
นางสาวปภัชอัณ ปิติภาพงศ์
หลักสูตรที่จะช่วยให้นิสิตเรียนรู้เกี่ยวกับการทำความเข้าใจลูกค้า เพื่อที่จะนำไปสู่การออกแบบประสบการณ์ของลูกค้าที่ตอบโจทย์ที่สุด
Introduction to User Experience Design
นางสาวฐาปนี ศรีสวัสดิ์
หลักสูตรที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นของการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design) เรียนรู้ถึงบทบาท หน้าที่ วิธีคิด และการใช้ชีวิตแบบ UX Designer และเรียนรู้จากตัวอย่างของ User Experience Design ที่ประสบความสำเร็จและผิดพลาด เพื่อที่จะทำให้เข้าใจอย่างรอบด้านที่สุด
Introduction to Agile
นายติรศักดิ์ วงศ์อหิงสา
หลักสูตรที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวคิดและประวัติความเป็นมาของการทำงานแบบอไจล์และหัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอไจล์
Introduction to Data Analytics
ผศ. ดร.อรรถพล ธํารงรัตนฤทธิ์
หลักสูตรที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นของการวิเคราะห์ด้วยข้อมูล (Data Analytics) เรียนรู้ถึงวิธีการคิดและการทำงานด้วยพื้นฐานของการวิเคราะห์ข้อมูล และเรียนรู้เครื่องมือการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อทำให้คุณมีความเข้าใจในอาชีพนักวิเคราะห์ข้อมูลมากขึ้น
Introduction to Digital Marketing
นางสาวเยาวเรศ โอศิริพันธุ์
หลักสูตรที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นของการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) เรียนรู้ถึงบทบาท หน้าที่ วิธีคิด และเครื่องมือการทำงาน Digital Marketing และเรียนรู้จากตัวอย่างของการทำตลาดบนโลกออนไลน์ที่ประสบความสำเร็จและผิดพลาด เพื่อทำให้คุณมีความเข้าใจในอาชีพนักการตลาดดิจิทัลมากขึ้น
NFT - A New Way for Marketing
ในคอร์ส NFT - A New Approach To Marketing Strategy จะเป็นการบรรยายให้เข้าใจตั่งแต่พื้นฐานของสินทรัพย์ดิจิทับประเภท Fungible และ Non-Fungible Token รวมถึง Concept และการประยุกต์ Idea ให้เกิดมูลค่าของสินทรัพย์ดิจิทัลประเภท Non-Fungible พร้อมยกตัวอย่างธุรกิจจริงที่นําสินทรัพย์ประเภทของ NFT นํามาต่อยอดเพิ่มมูลค่าเชิงการตลาดให้สอดคล้องกับทิศทางของโลกยุคเทคโนโลยี
ยานยนต์ไฟฟ้า - กุญแจสู่การสัญจรยุคหน้า (EV - The key to future mobility) รุ่นที่ 2 (จุฬาฯ)
รศ. ดร.อังคีร์ ศรีภคากร
สำหรับวิชา ยานยนต์ไฟฟ้า - กุญแจสู่การสัญจรยุคหน้า (EV - The key to future mobility) จะเป็นการนำเสนอเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้า และแนวคิดจากเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยมุ่งเน้นใหผู้เรียนเห็นถึงโอกาสที่สังคมไทยจะได้ประโยชน์จากเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้า และตระหนักถึงความท้าทายกว่าสังคมจะก้าวจากความเคลือบแคลงสงสัยสู่การโอบรับสนับสนุนการพัฒนาการใช้ประโยชน์ อุตสาหกรรม และธุรกิจที่เกี่ยวของกับยานยนตไฟฟ้า รวมไปถึงการสร้างความยั่งยืนให้กับสังคมโลกต่อไป
มหากาพย์ กลเม็ด เก่งคณิต: ความน่าจะเป็นและสถิติ (จุฬาฯ)
ผศ. ดร.เก่ง วิบูลย์ธัญญ์
วิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เป็นรากฐานของหลายๆ วิชา สำหรับคอร์สวิชานี้จะมีชื่อว่า มหากาพย์ กลเม็ด เก่งคณิต โดยจะมีทั้งหมด 5 เรื่อง ได้แก่ พิชิตพีชคณิต เปิดมิติเรขาคณิต พร้อมสู้สู่แคลคูลัส ตรีโกณทะลุมิติและจำนวนเชิงซ้อนที่ไม่ซ่อนเงื่อน และเรื่องจำเป็นในความน่าจะเป็น วิชานี้จะเป็นวิชาที่ทำให้ผู้เรียนได้เข้าใจคณิตศาสตร์มากขึ้น โดยผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในการสอบ และในชีวิตประจำวันได้ ในคอร์สเรียนนี้จะเปลี่ยนทัศนคติของผู้เรียนวิชาคณิตศาสตร์จาก Negative เป็น Positive
แผ่นดินไหว ธรณีพิโรธที่น่ากลัว (Earthquake - A horrow geohazard) (จุฬาฯ)
ศ. ดร.ปัญญา จารุศิริ
รายวิชา แผ่นดินไหว ธรณีพิโรธที่น่ากลัว (Earthquake - A horrow geohazard) เป็นการนำเสนอความรู้ที่จำเป็นและสำคัญสำหรับประชาชนทั่วไปที่สนใจ โดยเนื้อหาจะนำเสนอเกี่ยวกับความเป็นมาและแนวคิดเรื่องแผ่นดินไหว ความเข้าใจการเกิดพิบัติภัยแผ่นดินไหว แนวทางป้องกันที่ลดพิบัติภัย รวมถึงวิธีการเอาตัวรอดหากเกิดแผ่นดินไหว เป็นต้น
Tips for managing stress & anxiety in daily life
คุณกุลปริยา ศิริพานิช
เคล็ดลับการจัดการความเครียด และเคล็ดลับการจัดการความวิตกกังวลในชีวิต
การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชัน (Prototyping Applications)
นวพร ปานดี