การจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL (Database Management with SQL)
รศ. ดร.โชติรัตน์ รัตนามหัทธนะ
หลักสูตร Chula Mooc Flexi
วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เป็นต้นไป
วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เป็นต้นไป
3 บทเรียน
19 วิดีโอ
ไม่กำหนด
ไม่มี
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
certificate of completion
นิสิตจุฬา ฯ กลุ่มนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจเทคโนโลยีและดิจิทัล
ความรู้เบื้องต้นของภาษาสำหรับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์: ภาษาเอสคิวแอล; ความรู้พื้นฐานเรื่องแบบข้อมูลเชิงสัมพันธ์; ภาษาเอสคิวแอล: คำสั่งในการค้นคืนข้อมูล, คำสั่งในการจัดการข้อมูล, คำสั่งในการนิยามโครงสร้างของฐานข้อมูล; ไวยากรณ์ของภาษาเอสคิวแอล, ความหมายขององค์ประกอบเอสคิวแอลชนิดต่าง ๆ และวิธีการใช้งาน
1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจบทบาทของการใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล
2. เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้พื้นฐานภาษาเอสคิวแอล
3. เพื่อให้ผู้เรียนลองใช้คำสั่งพื้นฐานด้วยภาษาเอสคิวแอลเพื่อจัดการฐานข้อมูล
4. เพื่อเตรียมผู้เรียนให้มีความรู้เพื่อศึกษาต่อยอดสู่การจัดการฐานข้อมูลในขั้นที่สูงขึ้น
การวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้
1.ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป
2.ผู้เรียนจะสามารถทำข้อสอบ Post test ได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น
บทที่ 1
1.1 แนะนำรายวิชา
1.2 การติดตั้ง DB BROWSER FOR SQLITE
บทที่ 2
2.1 การสร้างฐานข้อมูลและตาราง Part 1
2.2 การสร้างฐานข้อมูลและตาราง Part 2
บทที่ 3
3.1 การสอบถามข้อมูล (SELECT)
3.2 การใช้ AS และ OIRDER BY
3.3 การใช้ DISTINCT
3.4 การเชื่อมเงื่อนไขด้วย AND, OR, NOT
3.5 การใช้ BETWEEN … AND
3.6 การเช็คค่าว่างด้วย IS NULL
3.7 การใช้ UNION, INTERSECT, EXCEPT
3.8 การเช็คค่าว่างด้วย IS NULL
3.9 การใช้ AGGREGATE FUNCTIONS
3.10 การใช้ GROUP BY, HAVING
3.11 การใช้ LIMIT
3.12 การอัพเดท และลบข้อมูลในตาราง
3.13 การใช้ IN และ NOT In
3.14 การใช้ SUB QUERY
3.15 การ JOIN ตาราง
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย