Introduction to Smart Grid (จุฬาฯ)
คณาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตร Chula MOOC
4 เมษายน 2565 เป็นต้นไป
4 เมษายน 2565 เป็นต้นไป
6 บทเรียน
6 วีดีโอ
ไม่กำหนด
ไม่มี
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
Chula Mooc
นิสิตและบุคลากร จุฬาฯ
วิชา Introduction to smart Grid จะบรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับระบบโครงข่ายไฟ้ฟ้าสมาร์ทกริด เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการแนะนำให้ผู้เรียนรู้จักกับแนวคิดการพัฒนาระบบโครงข่ายไฟ้ฟ้าสมาร์ท กริดในเบื้องต้น แรงขับเคลื่อนที่สำคัญในการพัฒนา เปรียบเทียบความแตกต่างหลักระหว่างระบบโครงข่ายไฟฟ้าแบบเดิมกับแบบสมาร์ทกริด เข้าใจองค์ประกอบพื้นฐานของสมาร์ทกริด พร้อมทั้งการยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของระบบโครงข่ายไฟฟ้าสมาร์ทกริดได้
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายองค์ประกอบพื้นฐานของสมาร์ทกริดได้
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายประโยชน์ของการพัฒนาสมาร์ทกริดได้
มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้
1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป
2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น
เนื้อหาวิชา Introduction to Smart Grid ประกอบด้วย
บทที่ 1 ทำไมต้อง สมาร์ทกริด ?
บทที่ 2 สมาร์ทกริด จะเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
บทที่ 3 เทคโนโลยี PV, ESS, EV กับสมาร์ทกริด
บทที่ 4 สมาร์ทกริดเพื่อการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าไทย
บทที่ 5 แนะนำโครงการ Smart Grid ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
บทที่ 6 ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (CU-BEMS: กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย