การสร้างชิ้นงานจากโปรแกรมสร้างภาพสามมิติ รุ่นที่ 2 (จุฬาฯ)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตร Chula MOOC
4 เมษายน 2565 เป็นต้นไป
4 เมษายน 2565 เป็นต้นไป
7 บทเรียน
7 วีดีโอ
ไม่กำหนด
ไม่มี
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
Chula Mooc
นิสิตและบุคลากร จุฬาฯ
รายวิชา การสร้างชิ้นงานจากโปรแกรมสร้างภาพสามมิติ จะสอนเนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบ การสร้างชิ้นงานต่างๆ เช่น สื่อการสอน ชิ้นส่วนทางวิศวกรรม เป็นต้น รวมถึงเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเครื่องพิมพ์สามมิติ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านเทคโนโลยีการสร้างภาพสามมิติ
มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้
1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป
2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น
เนื้อหารายวิชา การสร้างชิ้นงานจากโปรแกรมสร้างภาพสามมิติ ประกอบด้วย
บทที่ 1 : Intro to Mechanical Design การออกแบบเบื้องต้น
บทที่ 2 : Intro to Fusion 360 แนะนำโปรแกรม Fusion 360
บทที่ 3 : Basic of Fusion 360 (Workshop) พื้นฐาน Fusion 360 (ปฏิบัติงาน)
บทที่ 4 : Freeform modeling การขึ้นรูปแบบ Freeform
บทที่ 5 : Advanced Tips and Tricks การใช้งาน Fusion 360 ขั้นสูง
บทที่ 6 : 2D Drawing การเขียนแบบสองมิติ (พิมพ์เขียว)
บทที่ 7 : Conclusion of Design and Manufacturing สรุปการออกแบบและการผลิตชิ้นงาน
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย