GenEd จุฬา ฯ เปิดตัวโซลูชันการเรียนรู้ตลอดชีวิตแบบดิจิทัล Lifelong Learning Solutions for all “Chula MOOC Flexi” หลักสูตร Digital & AI Literacy จำนวน 28 คอร์สเรียน และ 8 ชุดรายวิชาศึกษาทั่วไป มีเป้าหมายในการเสริมสร้างทักษะความรู้ด้านดิจิทัลให้กับประชาชนในทุกช่วงวัยให้สามารถเผชิญกับความท้าทายในยุคดิจิทัลได้อย่างมั่นใจ
รองรับการเรียนรู้แบบยืดหยุ่น ผู้เรียนสามารถปรับเวลาในการเรียนให้เหมาะสมกับรูปแบบการดำเนินชีวิต เรียนสำเร็จได้รับ E-Certificate การันตีจาก จุฬา ฯ เป็นทางเลือกให้ผู้เรียนสะสมการเรียนรู้เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตเป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป
รองรับผู้เรียนที่เป็นนิสิตจุฬา ฯ นักเรียน นักศึกษา คนวัยทำงาน และประชาชนทั่วไปทุกคนที่สนใจเทคโนโลยีและดิจิทัล
เรียนสะสมหน่วยกิต
การรู้เท่าทันดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
รศ.ดร.อติวงศ์ สุชาโต
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลและวิทยาการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม Spreadsheet พื้นฐานการโค้ดผ่านการทำโปรแกรมแบบบล็อก หลักสูตรวิทยาการคำนวณในประเทศไทย การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน พื้นฐานและความเข้าใจกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พื้นฐานการพัฒนาเว็บ
อ.ดร.มัชฌิกา อ่องแตง
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน การสร้างเว็บด้วย HTML และ CSS การเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript การจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว โครงงานการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน ความปลอดภัยของระบบและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ
การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง
ผศ.ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ การเขียนโปรแกรมภาษา Python โครงงานพัฒนาต้นแบบอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยภาษาไพทอน
ผศ.ดร.สุกรี สินธุภิญโญ
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล การวิเคราะห์ข้อมูลและวิทยาการข้อมูล การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคการเรียนรู้ของเครื่อง
ผศ. ดร.ฑิตยา หวานวารี
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์ และการเรียนรู้ของเครื่อง การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน การเรียนรู้ของเครื่องแบบมีผู้สอน การเรียนรู้ของเครื่องแบบไม่ต้องมีผู้สอน การวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา
วิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม
ผศ. ดร.พรรณราย ศิริเจริญ
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง การพัฒนาโปรแกรมด้วยความสามารถของวิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน
การบริหารโครงการการพัฒนาแอปพลิเคชันยุคใหม่
ศ.ดร.วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล การวิเคราะห์ความต้องการเพื่อสร้างข้อกำหนดในการพัฒนาซอฟต์แวร์ การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว การบริหารโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ พื้นฐานและความเข้าใจกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ให้บริการเทคโนโลยี
รศ.ดร.ปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน หลักปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การบริหารจัดการระบบสารสนเทศเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ความปลอดภัยของระบบและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ พื้นฐานและความเข้าใจกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ให้บริการเทคโนโลยี
รศ.ดร.ปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน หลักปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การบริหารจัดการระบบสารสนเทศเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ความปลอดภัยของระบบและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ พื้นฐานและความเข้าใจกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
การบริหารโครงการการพัฒนาแอปพลิเคชันยุคใหม่
ศ.ดร.วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล การวิเคราะห์ความต้องการเพื่อสร้างข้อกำหนดในการพัฒนาซอฟต์แวร์ การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว การบริหารโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ พื้นฐานและความเข้าใจกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
วิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม
ผศ. ดร.พรรณราย ศิริเจริญ
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง การพัฒนาโปรแกรมด้วยความสามารถของวิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคการเรียนรู้ของเครื่อง
ผศ. ดร.ฑิตยา หวานวารี
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์ และการเรียนรู้ของเครื่อง การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน การเรียนรู้ของเครื่องแบบมีผู้สอน การเรียนรู้ของเครื่องแบบไม่ต้องมีผู้สอน การวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยภาษาไพทอน
ผศ.ดร.สุกรี สินธุภิญโญ
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล การวิเคราะห์ข้อมูลและวิทยาการข้อมูล การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน
การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง
ผศ.ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ การเขียนโปรแกรมภาษา Python โครงงานพัฒนาต้นแบบอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง
พื้นฐานการพัฒนาเว็บ
อ.ดร.มัชฌิกา อ่องแตง
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน การสร้างเว็บด้วย HTML และ CSS การเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript การจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันอย่างรวดเร็ว โครงงานการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน ความปลอดภัยของระบบและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ
การรู้เท่าทันดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
รศ.ดร.อติวงศ์ สุชาโต
คอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลและวิทยาการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม Spreadsheet พื้นฐานการโค้ดผ่านการทำโปรแกรมแบบบล็อก หลักสูตรวิทยาการคำนวณในประเทศไทย การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน พื้นฐานและความเข้าใจกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
0295129 ศิลปะไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ผศ.ชูพงศ์ ปัญจมะวัต
ความเชื่อพื้นฐานในวัฒนธรรมไทยเกี่ยวกับเรื่องไตรภูมิและศิลปะไทยในระบบภูมิจักรวาลสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3) อิทธิพลศิลปะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนและยุโรปในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง (รัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 5)
ประชากรและการพัฒนา
ผศ.ดร.ชฎาธาร โอษธีศ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับประชากรศาสตร์ที่ครอบคลุมในเรื่องการเกิด การตาย การย้ายถิ่น การเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบประชากร และผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของประชากรโดยรวมแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับประชากรศาสตร์ที่ครอบคลุมในเรื่องการเกิด การตาย การย้ายถิ่น การเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบประชากร และผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของประชากรโดยรวม
จุฬาฯ แนะทางรอดยุคเอไอ เปิดตัว “Chula MOOC Flexi” หลักสูตร Digital Literacy เรียนฟรี! เรียนรู้แบบยืดหยุ่น เรียนออนไลน์ได้ตลอดชีวิต
จุฬาฯมุกเฟล็กซิ หลักสูตรการเรียนรู้ดิจิทัลและเอไอ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง สร้างความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยีดิจิทัลที่ถูกต้อง มีความยืดหยุ่นในการเรียนรู้
จุฬาฯ ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์เปิดตัว SET e-Learning 33 หลักสูตร การพัฒนาทักษะชีวิต และความมั่นคงทางการเงินสําหรับคนทุกช่วงวัย